หนน่วยที่ 4 คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์





คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ถือว่าเป็นคอมพิวเตอร์รุ่นใหญ่ที่สุดที่มีพลังการประมวลผลเร็วที่สุดและสามารถ รองรับการคำนวณที่สลับซับซ้อน และมีปริมาณมหาศาลได้สบายส่วนใหญ่แล้วองค์กรที่ใช้ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์มักจะเป็นองค์กรรัฐบาลหน่วยงานทางทหารมหาวิทยาลัย หรือบริษัทที่มีขนาดใหญ่ เนื่องจากซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ราคาสูงมากนั่นเอง สำหรับหน้าตาของซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ก็มีหลากหลายแบบบางรุ่นก็มีลักษณะกระบอกสูงท่วมหัวบางยี่ห้อก็มีลักษณะเป็นตู้สี่เหลี่ยมขนาดใหญ่ส่วนยี่ห้อที่โด่งดังที่สุดก็คือCray
คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ก็จัดว่าเป็นเครื่องรุ่นใหญ่เหมือนกัน แต่เมนเฟรมใช้กันแพร่หลายกว่าซุปเปอร์คอมพิวเตอร์เนื่องจากมีราคาต่ำกว่าและสามารถรองรับงานหนักของธุรกิจได้เป็นอย่างดี องค์กรที่ใช้เมนเฟรมจะเป็นองค์กรขนาดใหญ่ เช่น ธนาคาร บริษัทประกันภัย มหาวิทยาลัย หน่วยงานรัฐบาลเป็นต้น ระบบปฏิบัติการที่ใช้ส่วนใหญ่จะเป็นของผู้ผลิตเมนเฟรมเอง ปัจจุบันเมนเฟรมเสื่อมความนิยมลงอย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีราคาแพง และมีคอมพิวเตอร์อย่างอื่นที่สามารถเข้ามารองรับงานได้เช่นกัน จุดอ่อนอีกอย่างของเมนเฟรมก็คือจะต้องซื้ออุปกรณ์และซอฟต์แวร์จากผู้ผลิตนั้นเพียงบริษัทเดียว คอมพิวเตอร์ประเภทนี้จัดอยู่ในรุ่นกลาง ซึ่งได้รับความนิยมมากอยู่พอสมควร เนื่องจากมีราคาถูกกว่าเมนเฟรมและสามารถรองรับงานธุรกิจได้ดีระดับหนึ่งส่วนใหญ่แล้วมินิคอมพิวเตอร์จะใช้ Unix เป็นระบบ ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ประเภทนี้พบมากในองค์กรตั้งแต่ขนาดกลางขึ้นไป
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็ก ราคาถูก ที่เรามักจะเรียกว่า"คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือเครื่องพีซี"(Personal Computer : PC) สามารถใช้เป็นเครื่องส่วนตัวหรือใช้เป็นเครื่องลูก(Client)ในเครือข่ายซึ่งในปัจจุบันถูกพัฒนาให้มีประสิทธิภาพสูงมากเราสามารถแบ่งเครื่องในระดับไมโครคอมพิวเตอร์ตามขนาดของเครื่องได้ดังนี้ เป็นคอมพิวเตอร์สำหรับตั้งโต๊ะ (Desktop Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานตามบ้าน และสำนักงานเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีการใช้งานอย่างแพร่หลาย เนื่องจากมีประสิทธิภาพสูง ราคาไม่แพง และถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
โน้ตบุคคอมพิวเตอร์ (Notebook Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถเหมือนกับคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ แต่ถูกย่อให้มีขนาดเล็ก น้ำหนักเบา เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถหิ้วไปไหนมาไหนได้สะดวกเหาะที่จะนำติดตัวไปใช้งานตามสถานที่ต่างๆได้ เป็นคอมพิวเตอร์แบบพกพาเช่นเดียวกับโน้ตบุ๊คสามารถใช้ประโยชน์ได้เช่นเดียวกับคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะแต่มีขนาดเล็กและน้ำหนักเบากว่ามาก เหมาะสำหรับผู้ใช้ที่ต้องเดินทางไกลบ่อยๆ
ปาล์ม (Palm) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กแบบใหม่ที่กำลังเป็นที่นิยม เป็นเครื่องประเภท Organizer ที่ใช้เป็นสมุดบันทึกประจำวัน กำหนดการ รับส่งเมล เป็นต้น สามารถพกพาติดตัวไปมาได้สะดวกเนื่องจากตัวเครื่องมีขนาดเล็กมาก
แท็บเลต พีซี (Tablet PC) เป็นคอมพิวเตอร์ที่กำลังทยอยออกสู่ตลาด ใช้จดบันทึกข้อความ ตารางนัดหมาย เก็บเบอร์โทรศัพท์ ฯลฯ จุดเด่นที่สำคัญของเครื่อง Tablet PC ก็คือ สามารถจดบันทึกข้อความลงไปบนหน้าจอได้เลย ง่ายต่อการจดบันทึก เป็นคอมพิวเตอร์สำหรับตั้งโต๊ะ (Desktop Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานตามบ้าน และสำนักงานเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีการใช้งานอย่างแพร่หลาย เนื่องจากมีประสิทธิภาพสูง ราคาไม่แพง และถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
หน่วยประมวลผลกลาง หรือซีพียู เป็นส่วนสำคัญที่ทำหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูล และควบคุมการทำงานของระบบ เปรียบเสมือนกับสมองของคนที่ทำหน้าที่ในการคิด คำนวณ และคอยควบคุมการทำงานทุกส่วนของร่างกาย ซีพียูก็เช่นเดียวกันมันจะทำหน้าที่คิดคำนวณ และควบคุมการทำงานทุกส่วนของระบบคอมพิวเตอร์ให้สามารถทำงานได้ตามต้องการ
หน่วยความจำหลัก เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ร่วมกับซีพียู โดยจะเป็นที่สำหรับเก็บข้อมูลสำคัญๆสำหรับซีพียู มีทั้งที่เก็บข้อมูลแบบถาวรและชั่วคราว ซึ่งได้แก่ หน่วยความจำรอม (ROM) และหน่วยความจำแรม (RAM) ตามลำดับ
คอมพิวเตอร์เครื่องใดที่มีแรมมากๆก็จะทำให้เครื่องนั้นทำงานได้เร็วขึ้น
หน่วยความจำสำรอง คือ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการเก็บบันทึกข้อมูล และโปรแกรมต่างๆแบบถาวรได้แก่ ฮาร์ดดิสก์ ฟล็อปปี้ดิสก์ แผ่นซีดีรอม ฯลฯ โดยถ้าเป็นข้อมูลที่มีขนาดเล็ก และต้องการเคลื่อนย้ายไฟล์ไปที่คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆก็ใช้ฟล็อปปี้ดิสก์ แต่ถ้าเป็นข้อมูลที่มีขนาดใหญ่มากๆก็จะเก็บลงในฮาร์ดดิสก์ หรือ
แผ่นซีดีรอมซึ่งข้อมูลที่เก็บในฟล็อปปี้ดิสก์ หรือฮาร์ดดิสก์ เราสามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไข และบันทึกลงไปใหม่ได้ส่วนแผ่นซีดีรอมไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
หน่วยความจำหลัก เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ร่วมกับซีพียู โดยจะเป็นที่สำหรับเก็บข้อมูลสำคัญๆสำหรับซีพียู มีทั้งที่เก็บข้อมูลแบบถาวรและชั่วคราว ซึ่งได้แก่ หน่วยความจำรอม (ROM) และหน่วยความจำแรม (RAM) ตามลำดับ
คอมพิวเตอร์เครื่องใดที่มีแรมมากๆก็จะทำให้เครื่องนั้นทำงานได้เร็วขึ้น
อุปกรณ์แสดงผล เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ในการนำผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของซีพียูไปแสดงผลอุปกรณ์แสดงผลที่ว่านี้ได้แก่จอภาพพริ้นเตอร์ลำโพงเป็นต้น
คอมพิวเตอร์
ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งส่วนประกอบภายในและภายนอกเครื่อง อย่างเช่น ซีพียู แรม ฮาร์ดดิสก์ จอภาพเป็นต้น ซึ่งเป็นส่วนที่เรามองเห็น และสามารถจับต้องได้
ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่เราต้องการ ซึ่งหมายถึงระบบปฏิบัติการและโปรแกรมต่างๆ ที่เราใช้งานกันอยู่ทุกวัน ไม่ว่าจะเป็น Windows 98/ME ,MS Office ,Linux, Lotus, Winzip เป็นต้น ซึ่งเป็นส่วนที่ไม่สามารถมองเห็นและจับต้องได้
อุปกรณ์แสดงผล เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ในการนำผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของซีพียูไปแสดงผลอุปกรณ์แสดงผลที่ว่านี้ได้แก่จอภาพพริ้นเตอร์ลำโพงเป็นต้น
1.จอภาพ(Monitor)ใช้แสดงผลข้อมูลหรือกราฟิกที่ได้จากการประมวลผลจากซีพียู
ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งส่วนประกอบภายในและภายนอกเครื่อง อย่างเช่น ซีพียู แรม ฮาร์ดดิสก์ จอภาพเป็นต้น ซึ่งเป็นส่วนที่เรามองเห็น และสามารถจับต้องได้
ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่เราต้องการ ซึ่งหมายถึงระบบปฏิบัติการและโปรแกรมต่างๆ ที่เราใช้งานกันอยู่ทุกวัน ไม่ว่าจะเป็น Windows 98/ME ,MS Office ,Linux, Lotus, Winzip เป็นต้น ซึ่งเป็นส่วนที่ไม่สามารถมองเห็นและจับต้องได้
อุปกรณ์แสดงผล เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ในการนำผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของซีพียูไปแสดงผลอุปกรณ์แสดงผลที่ว่านี้ได้แก่จอภาพพริ้นเตอร์ลำโพงเป็นต้น1.จอภาพ(Monitor)ใช้แสดงผลข้อมูลหรือกราฟิกที่ได้จากการประมวลผลจากซีพียู
ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่เราต้องการ ซึ่งหมายถึงระบบปฏิบัติการและโปรแกรมต่างๆ ที่เราใช้งานกันอยู่ทุกวัน ไม่ว่าจะเป็น Windows 98/ME ,MS Office ,Linux, Lotus, Winzip เป็นต้น ซึ่งเป็นส่วนที่ไม่สามารถมองเห็นและจับต้องได้
อุปกรณ์แสดงผล เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ในการนำผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของซีพียูไปแสดงผลอุปกรณ์แสดงผลที่ว่านี้ได้แก่จอภาพพริ้นเตอร์ลำโพงเป็นต้น1. เมื่อเปิดฝาครอบเครื่อง PC ออกมา จะพบว่าภายในจะมีแผ่นวงจร และอุปกรณ์ติดตั้งอยู่ในตำแหน่งต่างๆรวมไปถึงสายไฟ และสายสัญญาณที่เชื่อมต่อตามจุดต่างๆต่อไปนี้มาทำความรู้จักกับชิ้นส่วนต่างๆภายในเครื่อง PC ว่าแต่ละส่วนเรียกว่าอะไรและทำหน้าที่อย่างไร
เดินสายไฟ รื้อ MAINBOARD ให้ยุ่งยาก ระบบบัสเพิ่มขยายนี้มีใช้มานานแล้ว โดยสมัยแรกๆ ที่ทำการลดขนาดเมนเฟรม เป็น MINICOMPUTER บริษัท DIGITAL EQUIPMENTDORPORATION หรือที่รู้จักกันในนาม DEC ได้วางตลาด MINICOMPUTER ลักษณะ BUS-ORIENTED DESIGN ซึ่งประกอบไปด้วย แผงวงจร
ย่อยๆบน BOARD นำมาประกอบรวมกัน ต่อมา เครื่องจักรที่ได้รับยกย่องว่าเป็น PC (PERSONAL COMPUTER) เครื่องแรกก็ได้ถือกำเนิดขึ้นเป็นผลงานของED ROBERTS โดยให้ชื่อว่า ALTAIR (อัลแตร์) ซึ่งลักษณะของเครื่องนี้ จะเป็นลักษณะ SINGLE BOARD MACHINE กล่าวคือมีเพียง BOARD เปล่าๆ ซึ่งมี SLOTเพิ่มขยายให้จำนวนหนึ่ง และตัว CPU เองรวมทั้งหน่วยความจำหลัก (MAINMEMORY/RAM) ก็อยู่บน BOARD เพิ่มขยายที่นำมา PLUG บน SLOT นั้นๆนั่นเอง โดยระบบบัสที่ใช้เรียกว่า S-100 หรือ ALTAIR BUS (IEEE 696) ซึ่งก็ใช้เป็นมาตรฐานในวงการนี้มานานหลายปี แต่ก็ใช่ว่าเครื่องทุกๆ เครื่องจะต้องใช้ALTAIR BUS นี้ เพราะทาง APPLE เองก็ออกมาตรฐานของตัวเองขึ้นมา เรียกว่า APPLE BUSและทาง IBM เอง ก็ได้กำหนดมาตรฐาน PC BUS ขึ้นมาพร้อมๆกับการ IBM PC ต้นแบบ
ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์ การส่งถ่ายข้อมูลส่วนมากจะเป็นระหว่างไมโครโปรเซสเซอร์กับอุปกรณ์ภายนอก
หรือรับข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอกเพื่อทำการประมวลผลที่ซีพียู บัสรองรับข้อมูล( ADDRESS BUS) คือบัสที่ตัวซีพียู เลือกว่าจะส่งข้อมูลหรือรับข้อมูลจากอุปกรณ์ไหนไปที่ใด โดยจะต้องส่งสัญญาณเลือกออกมาทางแอดเดรสบัส บัสควบคุม (CONTROL BUS) เป็นบัสที่รับสัญญาณการควบคุมจากตัวซีพียูโดยบัสควบคุมเพื่อบังคับ
ว่าจะอ่านข้อมูลเข้ามา หรือจะส่งข้อมูลออกไปจากตัวซีพียู โดยระบบภายนอกจะตอบรับต่อสัญญาณควบคุมนั้น ไมโครโพรเซสเซอร์ไม่ใช่จะควบคุมการทำงานของบัสทั้งหมด บางกรณีในการส่งถ่ายข้อมูลภายนอกด้วยกันเอง ผ่านบัสได้เป็นกรณีพิเศษเหมือนกัน เช่นการอ่านข้อมูลจากหน่วยความจำสำรองขนาดใหญ่สามารถ
ส่งผ่านข้อมูลมายังหน่วยความำหลักได้โดยผ่านไมโครโพรเซสเซอร์เลย ก็โดยการใช้ขบวนการที่เรียกว่าขบวนการ DMA (DIRECT MEMORY ACCESS)บัสเป็นเส้นทางหลักของคอมพิวเตอร์ในการเชื่อมโยงในการ์ดขยายทุกชนิด ไปยังไมโครโพรเซสเซอร์ บัสความจริงก็ คือ ชุดของเส้นลวดที่วางขนานกันเป็นเส้นทางวงจรไฟฟ้าเปรียบเทียบเหมือนถนนที่มีหลาย ช่องทางจราจร ยิ่งมีช่องทางจราจรมาก ก็ยิ่งระบายความร้อนได้มากและหมดเร็ว เมื่อเราเสียบการ์ดลงช่องเสียบบนแผงวงจรหลัก (สล็อต) ก็เท่ากับว่าได้เชื่อมต่อการ์ดนั้นเข้ากับวงจรบัสโดยตรง จุดประสงค์หลักของบัสก็คือ การส่งผ่านข้อมูลไปและกลับจากไมโครโพรเซสเซอร์หรือจากอุปกรณ์หนึ่ง โดยทางคอนโทรลเลอร์ DMA การ์ดทุกตัวที่เสียบอยู่บนสล็อตของแผงวงจรหลักจะใช้เส้นทางเดินของบัสอันเดียวกัน
ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์ การส่งถ่ายข้อมูลส่วนมากจะเป็นระหว่างไมโครโปรเซสเซอร์กับอุปกรณ์ภายนอก
หรือรับข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอกเพื่อทำการประมวลผลที่ซีพียู บัสรองรับข้อมูล( ADDRESS BUS) คือบัสที่ตัวซีพียู เลือกว่าจะส่งข้อมูลหรือรับข้อมูลจากอุปกรณ์ไหนไปที่ใด โดยจะต้องส่งสัญญาณเลือกออกมาทางแอดเดรสบัส บัสควบคุม (CONTROL BUS) เป็นบัสที่รับสัญญาณการควบคุมจากตัวซีพียูโดยบัสควบคุมเพื่อบังคับ
ว่าจะอ่านข้อมูลเข้ามา หรือจะส่งข้อมูลออกไปจากตัวซีพียู โดยระบบภายนอกจะตอบรับต่อสัญญาณควบคุมนั้น ไมโครโพรเซสเซอร์ไม่ใช่จะควบคุมการทำงานของบัสทั้งหมด บางกรณีในการส่งถ่ายข้อมูลภายนอกด้วยกันเอง ผ่านบัสได้เป็นกรณีพิเศษเหมือนกัน เช่นการอ่านข้อมูลจากหน่วยความจำสำรองขนาดใหญ่สามารถ
ส่งผ่านข้อมูลมายังหน่วยความำหลักได้โดยผ่านไมโครโพรเซสเซอร์เลย ก็โดยการใช้ขบวนการที่เรียกว่าขบวนการ DMA (DIRECT MEMORY ACCESS)บัสเป็นเส้นทางหลักของคอมพิวเตอร์ในการเชื่อมโยงในการ์ดขยายทุกชนิด ไปยังไมโครโพรเซสเซอร์ บัสความจริงก็ คือ ชุดของเส้นลวดที่วางขนานกันเป็นเส้นทางวงจรไฟฟ้าเปรียบเทียบเหมือนถนนที่มีหลาย ช่องทางจราจร ยิ่งมีช่องทางจราจรมาก ก็ยิ่งระบายความร้อนได้มากและหมดเร็ว เมื่อเราเสียบการ์ดลงช่องเสียบบนแผงวงจรหลัก (สล็อต) ก็เท่ากับว่าได้เชื่อมต่อการ์ดนั้นเข้ากับวงจรบัสโดยตรง จุดประสงค์หลักของบัสก็คือ การส่งผ่านข้อมูลไปและกลับจากไมโครโพรเซสเซอร์หรือจากอุปกรณ์หนึ่ง โดยทางคอนโทรลเลอร์ DMA การ์ดทุกตัวที่เสียบอยู่บนสล็อตของแผงวงจรหลักจะใช้เส้นทางเดินของบัสอันเดียวกัน
1.สายไฟฟ้า(POWERLINE)จะให้พลังไฟฟ้ากับการ์ดขยายต่างๆ
PC BUS เมื่อ IBM ได้ทำการเปิดตัว IBM PC(XT) ตัวแรกซึ่งใช้ CPU 8088 เป็น CPU ขนาด 8 BIT ดังนั้นเครื่อง คอมพิวเตอร์เครื่องนี้จึงมีเส้นทางข้อมูลเพียง 8 เส้นทาง (8 DATA LINE) และเส้นทางที่อยู่ 20 เส้นทาง (20 ADDRESS LINE) เพื่อใช้ในการอ้างตำแหน่งของหน่วยความจำ CARD ที่นำมาต่อกับ PC BUS นั้นจะเป็น CARD แบบ 62 PIN ซึ่ง 8 PIN ใช้สำหรับส่งข้อมูลอีก 20 PIN ไว้สำหรับอ้างตำแหน่งของหน่วยความจำ ซึ่ง CPU 8088 นั้นสามารถอ้างอิงหน่วยความจำได้เพียง 1 เมกะไบต์ ซึ่งในแต่ละ PIN นั้นสามารถส่งข้อมูลได้เพียง 2 ค่า คือ 0 กับ 1 (หรือ ROW กับ HIGH) ดังนั้นเมื่อใช้20 PIN ก็จะอ้างอิงตำแหน่งได้ที่ 2 คูณกัน 20 ครั้ง(หรือยกกำลัง 20)
ซึ่งก็จะได้เท่ากับ 1 MEGABYTE พอดีส่วน PIN ที่เหลือก็ใช้เป็นตัวกำหนดการอ่านค่าว่าอ่านจากตำแหน่งของหน่วยความจำ หรือตำแหน่งของ INPUT/OUTPUT หรือบางส่วน PIN ก็ใช้สำหรับจ่ายไฟ +5ม -5ม +12 และสาย GROUND สายดิน เพื่อจ่ายไฟให้กับ GARD ที่ต่อพ่วงบน SLOT ของ PC BUS นั่นเอง และยังมี PIN
บางตัวที่ทำหน้าที่เป็นตัว RESETหรือเป็นตัว REFRESH หรือแม้กระทั่ง CLOCK หรือสัญญาณของระบบนั่นเอง ระบบ BUS แบบ PC BUS นี้มี ความกว้างของ BUSเป็น 4.77 MHzและยังสามารถส่งถ่ายข้อมูลด้วยความเร็วสูงสุดที่ 2.38 ต่อวินาที
หน่วยความจำ เป็นส่วนที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูลและโปรแกรมต่างๆมีทั้งแบบที่ใช้เก็บข้อมูลแบบถาวรและแบบที่ใช้เก็บข้อมูลแบบชั่วคราวหน่วยความจำเป็นส่วนที่มีความจำเป็นต่อการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ถ้าไม่มีหน่วยความจำเราก็คงไม่สามารถบันทึกข้อมูลใดๆไว้ได้เลย เราแบ่งหน่วยความจำออกเป็น 2 ประเภท คือ
หน่วยความจำรอม(ROM : Read Only Memory) เป็นหน่วยความจำชนิดที่อ่านได้อย่างเดียว ใช้เก็บข้อมูลแบบถาวร และไม่ต้องการพลังงานไฟฟ้าในการหล่อเลี้ยงเราใช้หน่วยความจำชนิดนี้ในการเก็บโปรแกรมควบคุมการทำงานของระบบที่เรียกว่า ไบออส (BIOS : Basic Input Output System)
หน่วยความจำแรม(RAM:RanddomAccessMemory) เป็นหน่วยความจำชนิดที่ต้องการพลังงานไฟฟ้าในการทำงานข้อมูลภายในแรมจะสูญหายทันทีที่มีการดับเครื่อง แรมจะทำงานร่วมกับซีพียูโดยซีพียูจะใช้แรมเป็นที่เก็บข้อมูลที่จะเป็นต่อการประมวลผลในขณะนั้นซึ่งจะเป็นการจัดเก็บข้อมูลแบบชั่วคราวเท่านั้น
อุปกรณ์รับข้อมูล เป็นส่วนที่ทำหน้าที่รับข้อมูลหรือคำสั่งจากผู้ใช้เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์แล้วนำไปประมวลผล อุปกรณ์รับข้อมูลที่ว่านี้ ได้แก่ เมาส์ คีย์บอร์ด ฟล็อปปี้ดิสก์ สแกนเนอร์ เป็นต้น
หน่วยความจำรอม(ROM : Read Only Memory) เป็นหน่วยความจำชนิดที่อ่านได้อย่างเดียว ใช้เก็บข้อมูลแบบถาวร และไม่ต้องการพลังงานไฟฟ้าในการหล่อเลี้ยงเราใช้หน่วยความจำชนิดนี้ในการเก็บโปรแกรมควบคุมการทำงานของระบบที่เรียกว่า ไบออส (BIOS : Basic Input Output System)
หน่วยความจำแรม(RAM:RanddomAccessMemory) เป็นหน่วยความจำชนิดที่ต้องการพลังงานไฟฟ้าในการทำงานข้อมูลภายในแรมจะสูญหายทันทีที่มีการดับเครื่อง แรมจะทำงานร่วมกับซีพียูโดยซีพียูจะใช้แรมเป็นที่เก็บข้อมูลที่จะเป็นต่อการประมวลผลในขณะนั้นซึ่งจะเป็นการจัดเก็บข้อมูลแบบชั่วคราวเท่านั้น
หน่วยความจำสำรอง คือ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการเก็บบันทึกข้อมูล และโปรแกรมต่างๆแบบถาวรได้แก่ ฮาร์ดดิสก์ ฟล็อปปี้ดิสก์ แผ่นซีดีรอม ฯลฯ โดยถ้าเป็นข้อมูลที่มีขนาดเล็ก และต้องการเคลื่อนย้ายไฟล์ไปที่คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆก็ใช้ฟล็อปปี้ดิสก์ แต่ถ้าเป็นข้อมูลที่มีขนาดใหญ่มากๆก็จะเก็บลงใน
ฮาร์ดดิสก์ หรือแผ่นซีดีรอมซึ่งข้อมูลที่เก็บในฟล็อปปี้ดิสก์ หรือฮาร์ดดิสก์ เราสามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไข และบันทึกลงไปใหม่ได้ส่วนแผ่นซีดีรอมไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
อุปกรณ์รับข้อมูล เป็นส่วนที่ทำหน้าที่รับข้อมูลหรือคำสั่งจากผู้ใช้เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์แล้วนำไปประมวลผล อุปกรณ์รับข้อมูลที่ว่านี้ ได้แก่ เมาส์ คีย์บอร์ด ฟล็อปปี้ดิสก์ สแกนเนอร์ เป็นต้น
สามารถแบ่งได้เป็น 2 ส่วนคือ ส่วนของฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ โดยทั้งสองส่วนนี้จะต้องมีการทำงานร่วมกันเพื่อให้เกิดการตอบสนองต่อการสั่งงานจากผู้ใช้ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
2. เคส (Case) ใช้ติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆไม่ว่าจะเป็นเมนบอร์ด ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอม ฟล็อปปี้ดิสก์ การ์ดต่างๆ เป็นต้น
3.คีย์บอร์ด(Keyboard)ใช้ป้อนข้อมูลหรือคำสั่งต่างๆเข้าสู่เครื่องพีซี
4. เมาส์ (Mouse) เป็นอุปกรณ์ช่วยอำนวยความสะดวกในการเลือกคำสั่งหรือเลื่อนเคอร์เซอร์ไปยังตำแหน่งที่ต้องการ
5.ลำโพง(Speaker)เป็นอุปกรณ์ที่ใช้แสดงเสียงจากสื่อมัลติมีเดียต่างๆ
2. แรม (RAM) ใช้เก็บข้อมูลและโปรแกรมที่กำลังใช้งานอยู่ เพื่อรอส่งให้กับซีพียูใช้ประมวลผลโดยจะเป็นการเก็บข้อมูลเพียงชั่วคราวเท่านั้นถ้าปิดเครื่องข้อมูลก็จะหายทันที
3. เมนบอร์ด (Mainboard) เป็นแผงวงจรขนาดใหญ่ที่ใช้ติดตั้ง และเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่างๆไม่ว่าจะเป็นซีพียู แรม ฮาร์ดดิสก์ ซาวน์การ์ด เป็นต้น เหมือนกับศูนย์กลางการติดต่อระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ
4. ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) ใช้เก็บข้อมูลขนาดใหญ่ได้อย่างถาวร นอกจากจะใช้เก็บข้อมูลแล้วฮาร์ดดิสก์ยังเป็นส่วนที่ใช้เก็บระบบปฏิบัติการรวมไปถึงโปรแกรมต่างๆอีกด้วย
5. ซีดีรอมไดรว์ (CD-ROM Drive) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีรูปแบบต่างๆไม่ว่าจะเป็นแผ่นโปรแกรมแผ่นเพลงและแผ่นหนัง
6. ฟล็อปปี้ดิสก์ไดรว์ (Floppy Disk Drive) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่าน/เขียนแผ่น Floppy Disk ที่ใช้เก็บข้อมูลขนาดเล็กซึ่งมีความจุเพียง1.44MBเหมาะสำหรับโอนถ่ายข้อมูลขนาดเล็กหรือใช้ทำแผ่นบู๊ต
7. ช่องขยาย (Expansion Slot) เป็นช่องต่อเติมที่ใช้ติดตั้งการ์ดชนิดต่างๆ อย่างเช่น ซาวน์การ์ด การ์ดแลน การ์ดจอภาพ เป็นต้น ในปัจจุบันจะมีอยู่ 3 ชนิดได้แก่ ISA, PCI และ AGP
8. แหล่งจ่ายไฟ (Power Supply) อุปกรณ์ที่ใช้จ่ายไฟให้กับอุปกรณ์ต่างๆภายในเครื่อง จะเห็นว่าจะมีสายไฟจากเพาเวอร์ซัพพลายเชื่อมต่อไปยังอุปกรณ์ต่างๆ
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ ถ้าเปรียบเทียบกับระบบโครงสร้างร่างกายของมนุษย์เราน่าจะ เปรียบเทียบได้ง่ายและเห็นภาพชัดเจน เพราะอย่างน้อยคนเราส่วนใหญ่คงจะพอรู้ระบบโครงสร้างการทำงาน ของร่างกายของเราเองอยู่บ้างไม่มากก็น้อยล่ะ ดังนั้นระบบการทำงานของบัสก็จะคล้ายกับเส้นเลือดในร่างกายของมนุษย์นั่นเองสำหรับทำหน้าที่ในการส่งถ่ายกระแสเลือดไปหล่อเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย ซึ่งกระแสเลือดในระบบคอมพิวเตอร์ก็คือข้อมูล (Data)นั่นเอง บัส คือ ทางเดินหรือ ช่องทางระหว่างอุปกรณ์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารภายในคอมพิวเตอร์
ดังนั้นข้อมูลต่างๆจึงถูกจัดระบบและควบคุมการส่งผ่านในระบบ จะพบว่าบัสแบ่งได้เป็น 4 ส่วนใหญ่ๆดังนี้
2. สายควบคุม (CONTROL LINE ) ใช้สำหรับส่งผ่านสัญญาณเวลา (TIMING SIGNG) จากนาฬิกาของระบบ และส่งสัญญาณอินเตอร์รัพต์
3. สายแอดเดรส (ADDRESS LINE) ข้อมูลใดๆที่ถูกส่งผ่านไป แอดเดรสเป้าหมายจะถูกส่งมาตามสายข้อมูลและบอกให้ตำแหน่งรับข้อมูล(แอดเดรส)รู้ว่าจะมีข้อมูลบางอย่างพร้อมที่จะส่งมาให้
4. สายข้อมูล (DATA LINE) ไมโครเมตรจะตรวจสอบว่ามีสายสัญญาณแสดงความพร้อมหรือ (บนสาย I/O CHANNEL READY) เมื่อทุกอย่างเป็นไปด้วยดีข้อมูลก็จะถูกส่งผ่านไปตามสายข้อมูล จำนวนสายที่ระบุถึงแอดเดรสของบัส หมายถึงจำนวนของหน่วยความจำที่อ้างแอดเดรสได้ทั้งหมด เช่น สายแอดเดรส 20 สาย สามารถใช้หน่วยความจำได้ 1 เมกะไบต์จำนวนของสายบัสจะหมายถึงบัสข้อมูล ซึ่งก็คือข้อมูลทั้งหมด ที่ส่งผ่านไปในบัสตามกฎที่ตั้งไว ความเร็วในการทำงานที่เหมาะสมจะเป็นไปได้ก็ต่อเมื่อ จำนวนสายข้อมูลเพียงพอกับจำนวนสายข้อมูลของไมโครโพรเซสเซอร์ จำนวนสายส่งข้อมูลมักจะระบุถึงคุณสมบัติของบัสในเครื่องพีซีนั้นๆ เช่น บัส 16 บิต หมายถึง บัสที่ใช้สายข้อมูล 16 สายนั่นเอง
หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์เริ่มจากผู้ใช้จะทำการป้อนข้อมูลหรือคำสั่งผ่านทางอุปกรณ์รับข้อมูล(InputDevices) ซึ่งข้อมูลหรือคำสั่งที่รับเข้ามาจะถูกนำไปตีความ และประมวลผลโดยหน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) แล้วนำผลที่ได้จากการประมวลผลมาเก็บไว้ที่หน่วยความจำแรม พร้อมกับแสดง
เครื่องคอมพิวเตอร์หรือที่เรามักจะเรียกว่าเครื่องพีซีนั้น เกิดจากการประกอบกันของอุปกรณ์ต่างๆมากมาย ทั้งส่วนที่อยู่ภายในเครื่องและส่วนที่อยู่ภายนอกเครื่องไม่ว่าจะเป็นซีพียู ,แรม,การ์ดแสดงผล,ฮาร์ดดิสก์,เมาส์, จอภาพ, คีย์บอร์ด ฯลฯ ซึ่งในแต่ละส่วนก็จะมีหน้าที่และความสำคัญแตกต่างกันไป เราจึงจำเป็นที่จะต้องทำความรู้จักกับอุปกรณ์ต่างๆเหล่านี้ และเรียนรู้ให้เกิดความเข้าใจถึงหน้าที่การทำงานของอุปกรณ์แต่ละส่วน เพื่อเป็นความรู้พื้นฐานก่อนที่จะพิจารณาเลือกซื้ออุปกรณ์เหล่านั้นมาประกอบเครื่องได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
อุปกรณ์ภายนอกเครื่องพีซี เป็นส่วนที่เราสามารถมองเห็นได้โดยไม่จำเป็นต้องเปิดเครื่อง ได้แก่ จอภาพ,เคส,คีย์บอร์ด,ลำโพง และเมาส์
1. ซีพียู (CPU) เป็นสมองของคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลและควบคุมการทำงานของระบบ ประสิทธิภาพและความรวดเร็วในการทำงานของเครื่องจะขึ้นอยู่กับซีพียู เป็นหลัก ดังนั้น ซีพียูจึงเป็นชิ้นส่วนที่สำคัญที่สุดและก็แพงที่สุดด้วย
ระบบ BUS บนเครื่องคอมพิวเตอร์
BUS หมายถึง ช่องทางการขนส่งถ่ายข้อมูลจากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอุปกรณ์หนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์เพราะการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ CPU จะต้องอ่านเอาคำสั่งหรือโปรแกรมจากหน่วยคงวามจำ มาตีความและทำตามคำสั่งนั้นๆ ซึ่งในบางครั้งจะต้องอ่านข้อมูลจากอุปกรณ์อื่นๆ เพื่อใช้ประกอบในการทำงาน หรือใช้ประมวลผลด้วยผลลัพธ์ของการประมวล ก็ต้องส่งไปแสดงที่ยังจอภาพ หรือเครื่องพิมพ์หรืออุปกรณ์อื่นๆ ระบบ CPU ทางกายภาพ คือสายทองแดงที่วางตัวอยู่บนแผงวงจรของเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมโยงกับอุปกรณ์ต่างๆ ความกว้างของระบบบัส จะนับขนาดข้อมูลที่วิ่งอยู่โดยจะมีหน่วยเป็น บิต (BIT) บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ บัสจะมีความกว้างจะทำให้การส่งถ่ายข้อมูลจะทำได้ครั้งละมากๆ จะมีผลทำให้คอมพิวเตอร์เครื่องนี้ทำงานได้เร็วตามไปด้วยระบบบัส ขนาด 16 บิตก็คือระบบการส่งถ่ายข้อมูลพร้อมๆกันในคราวเดียวกันได้ถึง 16 บิต และบัส 32 บิต ย่อมเร็วกว่าบัส 16 บิต ในระบบบัสที่ส่งข้อมูลได้จำนวนเท่าๆกัน นั้นก็ยังมีบางอย่างที่ทำให้การส่งข้อมูลมีความแตกต่างกัน ดังที่เราจะเห็นว่าเครื่องพีซีของเราในปัจจุบันจะมีระบบบัสอยู่หลายขนาดเช่น ISA, EISA. MCA, VLPCI เป็นต้น ทั้ง ISA, AGP,VLPCI ล้วนแต่เป็น CARD เพิ่มขยาย (EXPANSION CARD) ซึ่งนำมาต่อกับระบบบัสเพิ่มขยาย (EXPANSION BUS) ที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ และช่วยเพิ่มขีดความสามารถให้กับคอมพิวเตอร์ ระบบบัสเพิ่มขยายนั้น จะช่วยให้เราสามารถปรับแต่ง หรือเพิ่มขยายความสามารถของระบบ โดยผ่านทาง PKUG-INBOARD หรือเรียกว่า เป็น CARD เพิ่มขยาย EXPANSION CARD เช่นเมื่อต้องการให้ เครื่องCOMPUTER มีเสียง อยากให้คอมพิวเตอร์เล่นเพลงได้ก็ต้องหาซื้อSOUNDCARD และลำโพงมาต่อเพิ่ม โดยแค่นำมา PLUG ลงใน EXPANSION SLIT บน MAINBOARD และทำการ CONFIG ก็สามารถใช้งานได้ โดยไม่จำเป็นต้อง
ทั้งหมด โดยผ่านบัส ในไมโครโพรเซสเซอร์จะมีบัสต่างๆ ดังนี้ บัสข้อมูล (DATA BUS) คือบัสที่ ไมโครโพรเซสเซอร์ (ซีพียู)ใช้เป็นเส้นทางผ่านในการควบคุมการส่งถ่ายข้อมูลจากตัวซีพียูไปยังอุปกรณ์ภายนอก
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นความเป็นมา
การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับการใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกับเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของระบบให้สูงขึ้น เพิ่มการใช้งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุนระบบโดยรวมลง มีการแบ่งใช้งานอุปกรณ์และข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนสามารถทำงานร่วมกันได้ สิ่งสำคัญที่ทำให้ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น คือ การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน และการเชื่อมต่อหรือการสื่อสาร การโอนย้ายข้อมูลหมายถึงการนำข้อมูลมาแบ่งกันใช้งาน หรือการนำข้อมูลไปใช้ประมวลผลในลักษณะแบ่งกันใช้ทรัพยากร เช่น แบ่งกันใช้ซีพียู แบ่งกันใช้ฮาร์ดดิสก์ แบ่งกันใช้โปรแกรม และแบ่งกันใช้อุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีราคาแพงหรือไม่สามารถจัดหาให้ทุกคนได้ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายจึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานให้กว้างขวางและมากขึ้นจากเดิม
การเชื่อมต่อในความหมายของระบบเครือข่ายท้องถิ่น ไม่ได้จำกัดอยู่ที่การเชื่อมต่อระหว่างเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แต่ยังรวมไปถึงการเชื่อมต่ออุปกรณ์รอบข้าง เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าทำให้การทำงานเฉพาะมีขอบเขตกว้างขวางยิ่งขึ้น มีการใช้เครื่องบริการแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บรวบควมแฟ้มข้อมูลต่างๆ มีการทำฐานข้อมูลกลาง มีหน่วยจัดการระบบสือสารหน่วยบริการใช้เครื่องพิมพ์ หน่วยบริการการใช้ซีดี หน่วยบริการปลายทาง และอุปกรณ์ประกอบสำหรับต่อเข้าในระบบเครือข่ายเพื่อจะทำงานเฉพาะเจาะจงอย่างใดอย่างหนึ่ง ในรูป เป็นตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่จัดกลุ่มเชื่อมโยงเป็นระบบ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ก่อให้เกิดความสามารถในการปฎิบัติการร่วมกัน ซึ่งหมายถึงการให้อุปกรณ์ทุกชิ้นที่ต่ออยู่บนเครือข่ายทำงานร่วมกันได้ทั้งหมดในลักษณะที่ประสานรวมกัน โดยผู้ใช้เห็นเสมือนใช้งานในอุปกรณ์เดียวกัน จึงเป็นวิธีการในการนำเอาอุปกรณ์ต่างชนิดจำนวนมาก มารวมกันเป็นเสมือนระบบเดียวกัน ทั้ง ๆ ที่อุปกรณ์เหล่านั้นอาจจะมาจากต่างยี่ห้อ ต่างบริษัทก็ได้
เมื่อสิบกว่าปีก่อน ที่ไมโครคอมพิวเตอร์เริ่มแพร่หลาย ความคิดเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ยังดูเป็นของใช้ส่วนตัวหรือเครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับนักสมัครเล่น ครั้นเมื่อแอปเปิ้ลทูเริ่มแพร่หลายอย่างรวดเร็ว หลายคนมองว่าไมโครคอมพิวเตอร์กำลังจะเข้ามามีบทบาทมียอดการจำหน่ายสูงมากจนมีผู้ทำเลียนแบบกันมากมาย เพียงระยะเวลาผ่านไปไม่กี่ปีไมโครคอมพิวเตอร์ก็ก้าวหน้าขึ้นอย่างรวดเร็ว ในปี ค.ศ. 1979 สตีฟ จ๊อบ หนึ่งในสองของผู้ก่อตั้งบริษัทแอปเปิ้ลคอมพิวเตอร์มีโอกาสไปเยี่ยมบริษัทซีร็อกซ์ที่ศูนย์วิจัย Palo Alto มีมลรัฐแคลิฟอร์เนียมีความประทับใจกับระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งในขณะนั้นเป็นคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ แต่มีการแสดงกราฟิกและการใช้งานที่ง่าย สตีฟ จ๊อบ จึงเริ่มความคิดที่จะสร้างคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่มีระบบการใช้ หรือที่เรียกว่ายูสเซอร์อินเตอร์เฟสเหมือนกับเครื่องคอมพิวเตอร์ของบริษัทซีร๊อกซ์ และในที่สุดก็พัฒนาเป็นคอมพิวเตอร์ชื่อลิซ่า แต่ลิซ่าไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร บริษัทแอปเปิ้ลจึงพัฒนาย่อส่วนลงและเพิ่มขีดความสามารถขึ้นจนกลายเป็นเครื่องแมคอินทอชในปัจจุบัน ความคิดของไมโครคอมพิวเตอร์ขณะนั้นคือ เพิ่มขีดความสามารถของการทำงานโดยเน้นการใช้งานง่ายเป็นสำคัญ แนวความคิด "หั่นเป็นชิ้นแยกส่วนการทำงาน" เริ่มต้นแล้ว ทำอย่างไรจึงให้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ซึ่งมีบทบาทและความจำเป็นมาก ถูกจำลองลงด้วยเครื่องขนาดเล็ก การใช้งานไมโครคอมพิวเตอร์จึงยังไม่สามารถทดแทนระบบขนาดใหญ่ได้
ศูนย์วิจัยของบริษัทซีร๊อกซ์ได้พัฒนาและสร้างระบบต้นแบบไว้หลายอย่าง ความรู้แล้วต้นตำรับของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ก็เริ่มขึ้นที่นี่ด้วย ซีร๊อกซ์ได้พัฒนาระบบคอมพิวเตอร์แยกส่วน และเชื่อมโยงต่อกันเป็นเน็ตเวอร์ก และในที่สุดอีเธอร์เนต หรือ IEEE 802.3 ก็ได้รับการยอมรับ นับว่าจุดเริ่มต้นของแนวความคิดได้รับการยอมรับ และกลายเป็นมาตรฐานโลกไปในที่สุด หากย้อนรอยตั้งแต่ไอบีเอ็ม ประกาศไอบีเอ็มพีซีครั้งแรก ถนนการค้าไมโครคอมพิวเตอร์ก็ได้รับการขานรับและพัฒนาต่อเนื่องอย่างไม่หยุดยั้ง จาก 286 มาเป็น 386 และกลายเป็น 486 ปัจจุบันมีหลายบริษัทได้พัฒนาระบบบัสที่เป็นแบบความเร็วสูง เช่น MCA, EISA หรือนำบัสที่เคยใช้บนมินิคอมพิวเตอร์ เช่น VME, Q bus หรือแม้แต่มัลติบัสมาใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ที่ใช้ซีพียู 68000, 68020, 68030 เป็นต้น ช่วงสามสี่ปีที่ผ่านมา ระบบเวอร์กสเตชันก็ขานรับต่อมา มีเครื่องระดับเวอร์กสเตชันออกมามากมาย เช่น ของบริษัทซันไมโครซิสเต็ม ฮิวเล็ตต์แพคการ์ด หรือแม้แต่ไอบีเอ็มก็พัฒนาระบบ R6000 ขึ้นเช่นกัน สิ่งที่น่าสังเกตคือ ระบบคอมพิวเตอร์ยุคหลังนี้มาบนเส้นทางที่ให้ระบบการเชื่อมต่อถึงกันทั้งสิ้น การสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงดูจริงจังและเป็นงานเป็นการขึ้นกว่าเดิมมาก
หากย้อนไปเมื่อยี่สิบปีที่แล้วคอมพิวเตอร์มีราคาแพง การใช้งานจะอยู่ที่หน่วยงานใหญ่ ๆ ต้องมีห้อง มีศูนย์คอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์เป็นระบบรวมศูนย์ ถึงแม้แยกออกมาเป็นเทอร์มินัลก็แตกกระจาย จากศูนย์กลางออกไปแต่ แต่ในปัจจุบันการใช้คอมพิวเตอร์เริ่มแปรเปลี่ยนไป หน่วยงานต่าง ๆ พยายามมีคอมพิวเตอร์ของตนเอง ไมโครคอมพิวเตอร์หรือพีซีก็กระจายแพร่หลายไปทุกหน่วยงาน การพัฒนาซอฟต์แวร์เป็นไปอย่างกว้างขวาง มีโปรแกรมสำเร็จรูปออกมามากมาย สาเหตุสำคัญที่ทำให้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีความจำเป็น และมีบทบาทที่สำคัญต่อมาเพราะ
การใช้งานในหน่วยงานยิ่งแพร่หลาย ความต้องการที่จะเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารก็มีมากขึ้น ไมโครคอมพิวเตอร์มีราคาถูกเมื่อเทียบกับมินิคอมพิวเตอร์หรือเมนเฟรม ประจวบกับการใช้งานไมโครคอมพิวเตอร์ทำได้ง่ายกว่ามาก มีซอฟต์แวร์มาก แต่จุดอ่อนของไมโครคอมพิวเตอร์ก็อยู่ที่ระบบงานที่อาจต้องมีการเชื่อมโยงถึงกัน ดังนั้นการเพิ่มคุณค่าของระบบจึงต้องพัฒนาในเรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นประการสำคัญ พัฒนาการของไมโครโปรเซสเซอร์ไปเร็วมาก เหตุผลประการสำคัญอีกประการหนึ่งคือ ไมโครโปรเซสเซอร์และพัฒนาการทางด้านชิพได้ก้าวล้ำไปมาก ขีดความสามารถของซีพียูสูงขึ้น การคำนวณหรือระบบงานไมโครคอมพิวเตอร์ทำได้มาก ประกอบกับอุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคมได้มีการพัฒนาไปพร้อมกับระบบเครือข่ายสื่อสารโทรคมนาคมรองรับได้มาก ส่วนนี้เองเป็นแรงกระตุ้นการเชื่อมโยงระบบให้มีการผูกยึดเป็นระบบเครือข่าย
เทคโนโลยีหลายด้านได้พัฒนาก้าวหน้าขึ้นเป็นอันมาก เช่น เทคโนโลยีไฟเบอร์ออปติก ไมโครเวฟ หรือแม้แต่สายโคแอกเชียล ก็สามารถทำให้มีแบนด์วิดธ์สูงมาก ในขณะที่ราคาต้นทุนลดลง การทำให้จำนวนกิโลบิตทิ่ว่งได้ต่อวินาทีสูงขึ้น โอกาสของถนนสายข้อมูลก็มีรถซึ่งเป็นข้อมูลวิ่งได้มากขึ้น นอกจากนี้พัฒนาการทางเทคนิคทางซอฟต์แวร์โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบสื่อสารที่เรียกว่า โปรโตคอล ก็ได้พัฒนาไปมาก มีการกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศขึ้น เพื่อตอบสนองการเชื่อมโยงเป็นระบบมากในระยะสองสามปีที่ผ่านมา ความต้องการการเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์เข้าหากันมีจุดมุ่งหมายหลายอย่างเช่น




1.จอภาพ(Monitor)ใช้แสดงผลข้อมูลหรือกราฟิกที่ได้จากการประมวลผลจากซีพียู
ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งส่วนประกอบภายในและภายนอกเครื่อง อย่างเช่น ซีพียู แรม ฮาร์ดดิสก์ จอภาพเป็นต้น ซึ่งเป็นส่วนที่เรามองเห็น และสามารถจับต้องได้
ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่เราต้องการ ซึ่งหมายถึงระบบปฏิบัติการและโปรแกรมต่างๆ ที่เราใช้งานกันอยู่ทุกวัน ไม่ว่าจะเป็น Windows 98/ME ,MS Office ,Linux, Lotus, Winzip เป็นต้น ซึ่งเป็นส่วนที่ไม่สามารถมองเห็นและจับต้องได้
อุปกรณ์แสดงผล เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ในการนำผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของซีพียูไปแสดงผลอุปกรณ์แสดงผลที่ว่านี้ได้แก่จอภาพพริ้นเตอร์ลำโพงเป็นต้น1.จอภาพ(Monitor)ใช้แสดงผลข้อมูลหรือกราฟิกที่ได้จากการประมวลผลจากซีพียู
ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่เราต้องการ ซึ่งหมายถึงระบบปฏิบัติการและโปรแกรมต่างๆ ที่เราใช้งานกันอยู่ทุกวัน ไม่ว่าจะเป็น Windows 98/ME ,MS Office ,Linux, Lotus, Winzip เป็นต้น ซึ่งเป็นส่วนที่ไม่สามารถมองเห็นและจับต้องได้
อุปกรณ์แสดงผล เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ในการนำผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของซีพียูไปแสดงผลอุปกรณ์แสดงผลที่ว่านี้ได้แก่จอภาพพริ้นเตอร์ลำโพงเป็นต้น1. เมื่อเปิดฝาครอบเครื่อง PC ออกมา จะพบว่าภายในจะมีแผ่นวงจร และอุปกรณ์ติดตั้งอยู่ในตำแหน่งต่างๆรวมไปถึงสายไฟ และสายสัญญาณที่เชื่อมต่อตามจุดต่างๆต่อไปนี้มาทำความรู้จักกับชิ้นส่วนต่างๆภายในเครื่อง PC ว่าแต่ละส่วนเรียกว่าอะไรและทำหน้าที่อย่างไร
เดินสายไฟ รื้อ MAINBOARD ให้ยุ่งยาก ระบบบัสเพิ่มขยายนี้มีใช้มานานแล้ว โดยสมัยแรกๆ ที่ทำการลดขนาดเมนเฟรม เป็น MINICOMPUTER บริษัท DIGITAL EQUIPMENTDORPORATION หรือที่รู้จักกันในนาม DEC ได้วางตลาด MINICOMPUTER ลักษณะ BUS-ORIENTED DESIGN ซึ่งประกอบไปด้วย แผงวงจร
ย่อยๆบน BOARD นำมาประกอบรวมกัน ต่อมา เครื่องจักรที่ได้รับยกย่องว่าเป็น PC (PERSONAL COMPUTER) เครื่องแรกก็ได้ถือกำเนิดขึ้นเป็นผลงานของED ROBERTS โดยให้ชื่อว่า ALTAIR (อัลแตร์) ซึ่งลักษณะของเครื่องนี้ จะเป็นลักษณะ SINGLE BOARD MACHINE กล่าวคือมีเพียง BOARD เปล่าๆ ซึ่งมี SLOTเพิ่มขยายให้จำนวนหนึ่ง และตัว CPU เองรวมทั้งหน่วยความจำหลัก (MAINMEMORY/RAM) ก็อยู่บน BOARD เพิ่มขยายที่นำมา PLUG บน SLOT นั้นๆนั่นเอง โดยระบบบัสที่ใช้เรียกว่า S-100 หรือ ALTAIR BUS (IEEE 696) ซึ่งก็ใช้เป็นมาตรฐานในวงการนี้มานานหลายปี แต่ก็ใช่ว่าเครื่องทุกๆ เครื่องจะต้องใช้ALTAIR BUS นี้ เพราะทาง APPLE เองก็ออกมาตรฐานของตัวเองขึ้นมา เรียกว่า APPLE BUSและทาง IBM เอง ก็ได้กำหนดมาตรฐาน PC BUS ขึ้นมาพร้อมๆกับการ IBM PC ต้นแบบ
ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์ การส่งถ่ายข้อมูลส่วนมากจะเป็นระหว่างไมโครโปรเซสเซอร์กับอุปกรณ์ภายนอก
หรือรับข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอกเพื่อทำการประมวลผลที่ซีพียู บัสรองรับข้อมูล( ADDRESS BUS) คือบัสที่ตัวซีพียู เลือกว่าจะส่งข้อมูลหรือรับข้อมูลจากอุปกรณ์ไหนไปที่ใด โดยจะต้องส่งสัญญาณเลือกออกมาทางแอดเดรสบัส บัสควบคุม (CONTROL BUS) เป็นบัสที่รับสัญญาณการควบคุมจากตัวซีพียูโดยบัสควบคุมเพื่อบังคับ
ว่าจะอ่านข้อมูลเข้ามา หรือจะส่งข้อมูลออกไปจากตัวซีพียู โดยระบบภายนอกจะตอบรับต่อสัญญาณควบคุมนั้น ไมโครโพรเซสเซอร์ไม่ใช่จะควบคุมการทำงานของบัสทั้งหมด บางกรณีในการส่งถ่ายข้อมูลภายนอกด้วยกันเอง ผ่านบัสได้เป็นกรณีพิเศษเหมือนกัน เช่นการอ่านข้อมูลจากหน่วยความจำสำรองขนาดใหญ่สามารถ
ส่งผ่านข้อมูลมายังหน่วยความำหลักได้โดยผ่านไมโครโพรเซสเซอร์เลย ก็โดยการใช้ขบวนการที่เรียกว่าขบวนการ DMA (DIRECT MEMORY ACCESS)บัสเป็นเส้นทางหลักของคอมพิวเตอร์ในการเชื่อมโยงในการ์ดขยายทุกชนิด ไปยังไมโครโพรเซสเซอร์ บัสความจริงก็ คือ ชุดของเส้นลวดที่วางขนานกันเป็นเส้นทางวงจรไฟฟ้าเปรียบเทียบเหมือนถนนที่มีหลาย ช่องทางจราจร ยิ่งมีช่องทางจราจรมาก ก็ยิ่งระบายความร้อนได้มากและหมดเร็ว เมื่อเราเสียบการ์ดลงช่องเสียบบนแผงวงจรหลัก (สล็อต) ก็เท่ากับว่าได้เชื่อมต่อการ์ดนั้นเข้ากับวงจรบัสโดยตรง จุดประสงค์หลักของบัสก็คือ การส่งผ่านข้อมูลไปและกลับจากไมโครโพรเซสเซอร์หรือจากอุปกรณ์หนึ่ง โดยทางคอนโทรลเลอร์ DMA การ์ดทุกตัวที่เสียบอยู่บนสล็อตของแผงวงจรหลักจะใช้เส้นทางเดินของบัสอันเดียวกัน
ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์ การส่งถ่ายข้อมูลส่วนมากจะเป็นระหว่างไมโครโปรเซสเซอร์กับอุปกรณ์ภายนอก
หรือรับข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอกเพื่อทำการประมวลผลที่ซีพียู บัสรองรับข้อมูล( ADDRESS BUS) คือบัสที่ตัวซีพียู เลือกว่าจะส่งข้อมูลหรือรับข้อมูลจากอุปกรณ์ไหนไปที่ใด โดยจะต้องส่งสัญญาณเลือกออกมาทางแอดเดรสบัส บัสควบคุม (CONTROL BUS) เป็นบัสที่รับสัญญาณการควบคุมจากตัวซีพียูโดยบัสควบคุมเพื่อบังคับ
ว่าจะอ่านข้อมูลเข้ามา หรือจะส่งข้อมูลออกไปจากตัวซีพียู โดยระบบภายนอกจะตอบรับต่อสัญญาณควบคุมนั้น ไมโครโพรเซสเซอร์ไม่ใช่จะควบคุมการทำงานของบัสทั้งหมด บางกรณีในการส่งถ่ายข้อมูลภายนอกด้วยกันเอง ผ่านบัสได้เป็นกรณีพิเศษเหมือนกัน เช่นการอ่านข้อมูลจากหน่วยความจำสำรองขนาดใหญ่สามารถ
ส่งผ่านข้อมูลมายังหน่วยความำหลักได้โดยผ่านไมโครโพรเซสเซอร์เลย ก็โดยการใช้ขบวนการที่เรียกว่าขบวนการ DMA (DIRECT MEMORY ACCESS)บัสเป็นเส้นทางหลักของคอมพิวเตอร์ในการเชื่อมโยงในการ์ดขยายทุกชนิด ไปยังไมโครโพรเซสเซอร์ บัสความจริงก็ คือ ชุดของเส้นลวดที่วางขนานกันเป็นเส้นทางวงจรไฟฟ้าเปรียบเทียบเหมือนถนนที่มีหลาย ช่องทางจราจร ยิ่งมีช่องทางจราจรมาก ก็ยิ่งระบายความร้อนได้มากและหมดเร็ว เมื่อเราเสียบการ์ดลงช่องเสียบบนแผงวงจรหลัก (สล็อต) ก็เท่ากับว่าได้เชื่อมต่อการ์ดนั้นเข้ากับวงจรบัสโดยตรง จุดประสงค์หลักของบัสก็คือ การส่งผ่านข้อมูลไปและกลับจากไมโครโพรเซสเซอร์หรือจากอุปกรณ์หนึ่ง โดยทางคอนโทรลเลอร์ DMA การ์ดทุกตัวที่เสียบอยู่บนสล็อตของแผงวงจรหลักจะใช้เส้นทางเดินของบัสอันเดียวกัน
1.สายไฟฟ้า(POWERLINE)จะให้พลังไฟฟ้ากับการ์ดขยายต่างๆ
PC BUS เมื่อ IBM ได้ทำการเปิดตัว IBM PC(XT) ตัวแรกซึ่งใช้ CPU 8088 เป็น CPU ขนาด 8 BIT ดังนั้นเครื่อง คอมพิวเตอร์เครื่องนี้จึงมีเส้นทางข้อมูลเพียง 8 เส้นทาง (8 DATA LINE) และเส้นทางที่อยู่ 20 เส้นทาง (20 ADDRESS LINE) เพื่อใช้ในการอ้างตำแหน่งของหน่วยความจำ CARD ที่นำมาต่อกับ PC BUS นั้นจะเป็น CARD แบบ 62 PIN ซึ่ง 8 PIN ใช้สำหรับส่งข้อมูลอีก 20 PIN ไว้สำหรับอ้างตำแหน่งของหน่วยความจำ ซึ่ง CPU 8088 นั้นสามารถอ้างอิงหน่วยความจำได้เพียง 1 เมกะไบต์ ซึ่งในแต่ละ PIN นั้นสามารถส่งข้อมูลได้เพียง 2 ค่า คือ 0 กับ 1 (หรือ ROW กับ HIGH) ดังนั้นเมื่อใช้20 PIN ก็จะอ้างอิงตำแหน่งได้ที่ 2 คูณกัน 20 ครั้ง(หรือยกกำลัง 20)
ซึ่งก็จะได้เท่ากับ 1 MEGABYTE พอดีส่วน PIN ที่เหลือก็ใช้เป็นตัวกำหนดการอ่านค่าว่าอ่านจากตำแหน่งของหน่วยความจำ หรือตำแหน่งของ INPUT/OUTPUT หรือบางส่วน PIN ก็ใช้สำหรับจ่ายไฟ +5ม -5ม +12 และสาย GROUND สายดิน เพื่อจ่ายไฟให้กับ GARD ที่ต่อพ่วงบน SLOT ของ PC BUS นั่นเอง และยังมี PIN
บางตัวที่ทำหน้าที่เป็นตัว RESETหรือเป็นตัว REFRESH หรือแม้กระทั่ง CLOCK หรือสัญญาณของระบบนั่นเอง ระบบ BUS แบบ PC BUS นี้มี ความกว้างของ BUSเป็น 4.77 MHzและยังสามารถส่งถ่ายข้อมูลด้วยความเร็วสูงสุดที่ 2.38 ต่อวินาที
ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งส่วนประกอบภายในและภายนอกเครื่อง อย่างเช่น ซีพียู แรม ฮาร์ดดิสก์ จอภาพเป็นต้น ซึ่งเป็นส่วนที่เรามองเห็น และสามารถจับต้องได้
ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่เราต้องการ ซึ่งหมายถึงระบบปฏิบัติการและโปรแกรมต่างๆ ที่เราใช้งานกันอยู่ทุกวัน ไม่ว่าจะเป็น Windows 98/ME ,MS Office ,Linux, Lotus, Winzip เป็นต้น ซึ่งเป็นส่วนที่ไม่สามารถมองเห็นและจับต้องได้
อุปกรณ์แสดงผล เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ในการนำผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของซีพียูไปแสดงผลอุปกรณ์แสดงผลที่ว่านี้ได้แก่จอภาพพริ้นเตอร์ลำโพงเป็นต้น1.จอภาพ(Monitor)ใช้แสดงผลข้อมูลหรือกราฟิกที่ได้จากการประมวลผลจากซีพียู
ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่เราต้องการ ซึ่งหมายถึงระบบปฏิบัติการและโปรแกรมต่างๆ ที่เราใช้งานกันอยู่ทุกวัน ไม่ว่าจะเป็น Windows 98/ME ,MS Office ,Linux, Lotus, Winzip เป็นต้น ซึ่งเป็นส่วนที่ไม่สามารถมองเห็นและจับต้องได้
อุปกรณ์แสดงผล เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ในการนำผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของซีพียูไปแสดงผลอุปกรณ์แสดงผลที่ว่านี้ได้แก่จอภาพพริ้นเตอร์ลำโพงเป็นต้น1. เมื่อเปิดฝาครอบเครื่อง PC ออกมา จะพบว่าภายในจะมีแผ่นวงจร และอุปกรณ์ติดตั้งอยู่ในตำแหน่งต่างๆรวมไปถึงสายไฟ และสายสัญญาณที่เชื่อมต่อตามจุดต่างๆต่อไปนี้มาทำความรู้จักกับชิ้นส่วนต่างๆภายในเครื่อง PC ว่าแต่ละส่วนเรียกว่าอะไรและทำหน้าที่อย่างไร
เดินสายไฟ รื้อ MAINBOARD ให้ยุ่งยาก ระบบบัสเพิ่มขยายนี้มีใช้มานานแล้ว โดยสมัยแรกๆ ที่ทำการลดขนาดเมนเฟรม เป็น MINICOMPUTER บริษัท DIGITAL EQUIPMENTDORPORATION หรือที่รู้จักกันในนาม DEC ได้วางตลาด MINICOMPUTER ลักษณะ BUS-ORIENTED DESIGN ซึ่งประกอบไปด้วย แผงวงจร
ย่อยๆบน BOARD นำมาประกอบรวมกัน ต่อมา เครื่องจักรที่ได้รับยกย่องว่าเป็น PC (PERSONAL COMPUTER) เครื่องแรกก็ได้ถือกำเนิดขึ้นเป็นผลงานของED ROBERTS โดยให้ชื่อว่า ALTAIR (อัลแตร์) ซึ่งลักษณะของเครื่องนี้ จะเป็นลักษณะ SINGLE BOARD MACHINE กล่าวคือมีเพียง BOARD เปล่าๆ ซึ่งมี SLOTเพิ่มขยายให้จำนวนหนึ่ง และตัว CPU เองรวมทั้งหน่วยความจำหลัก (MAINMEMORY/RAM) ก็อยู่บน BOARD เพิ่มขยายที่นำมา PLUG บน SLOT นั้นๆนั่นเอง โดยระบบบัสที่ใช้เรียกว่า S-100 หรือ ALTAIR BUS (IEEE 696) ซึ่งก็ใช้เป็นมาตรฐานในวงการนี้มานานหลายปี แต่ก็ใช่ว่าเครื่องทุกๆ เครื่องจะต้องใช้ALTAIR BUS นี้ เพราะทาง APPLE เองก็ออกมาตรฐานของตัวเองขึ้นมา เรียกว่า APPLE BUSและทาง IBM เอง ก็ได้กำหนดมาตรฐาน PC BUS ขึ้นมาพร้อมๆกับการ IBM PC ต้นแบบ
ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์ การส่งถ่ายข้อมูลส่วนมากจะเป็นระหว่างไมโครโปรเซสเซอร์กับอุปกรณ์ภายนอก
หรือรับข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอกเพื่อทำการประมวลผลที่ซีพียู บัสรองรับข้อมูล( ADDRESS BUS) คือบัสที่ตัวซีพียู เลือกว่าจะส่งข้อมูลหรือรับข้อมูลจากอุปกรณ์ไหนไปที่ใด โดยจะต้องส่งสัญญาณเลือกออกมาทางแอดเดรสบัส บัสควบคุม (CONTROL BUS) เป็นบัสที่รับสัญญาณการควบคุมจากตัวซีพียูโดยบัสควบคุมเพื่อบังคับ
ว่าจะอ่านข้อมูลเข้ามา หรือจะส่งข้อมูลออกไปจากตัวซีพียู โดยระบบภายนอกจะตอบรับต่อสัญญาณควบคุมนั้น ไมโครโพรเซสเซอร์ไม่ใช่จะควบคุมการทำงานของบัสทั้งหมด บางกรณีในการส่งถ่ายข้อมูลภายนอกด้วยกันเอง ผ่านบัสได้เป็นกรณีพิเศษเหมือนกัน เช่นการอ่านข้อมูลจากหน่วยความจำสำรองขนาดใหญ่สามารถ
ส่งผ่านข้อมูลมายังหน่วยความำหลักได้โดยผ่านไมโครโพรเซสเซอร์เลย ก็โดยการใช้ขบวนการที่เรียกว่าขบวนการ DMA (DIRECT MEMORY ACCESS)บัสเป็นเส้นทางหลักของคอมพิวเตอร์ในการเชื่อมโยงในการ์ดขยายทุกชนิด ไปยังไมโครโพรเซสเซอร์ บัสความจริงก็ คือ ชุดของเส้นลวดที่วางขนานกันเป็นเส้นทางวงจรไฟฟ้าเปรียบเทียบเหมือนถนนที่มีหลาย ช่องทางจราจร ยิ่งมีช่องทางจราจรมาก ก็ยิ่งระบายความร้อนได้มากและหมดเร็ว เมื่อเราเสียบการ์ดลงช่องเสียบบนแผงวงจรหลัก (สล็อต) ก็เท่ากับว่าได้เชื่อมต่อการ์ดนั้นเข้ากับวงจรบัสโดยตรง จุดประสงค์หลักของบัสก็คือ การส่งผ่านข้อมูลไปและกลับจากไมโครโพรเซสเซอร์หรือจากอุปกรณ์หนึ่ง โดยทางคอนโทรลเลอร์ DMA การ์ดทุกตัวที่เสียบอยู่บนสล็อตของแผงวงจรหลักจะใช้เส้นทางเดินของบัสอันเดียวกัน
ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์ การส่งถ่ายข้อมูลส่วนมากจะเป็นระหว่างไมโครโปรเซสเซอร์กับอุปกรณ์ภายนอก
หรือรับข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอกเพื่อทำการประมวลผลที่ซีพียู บัสรองรับข้อมูล( ADDRESS BUS) คือบัสที่ตัวซีพียู เลือกว่าจะส่งข้อมูลหรือรับข้อมูลจากอุปกรณ์ไหนไปที่ใด โดยจะต้องส่งสัญญาณเลือกออกมาทางแอดเดรสบัส บัสควบคุม (CONTROL BUS) เป็นบัสที่รับสัญญาณการควบคุมจากตัวซีพียูโดยบัสควบคุมเพื่อบังคับ
ว่าจะอ่านข้อมูลเข้ามา หรือจะส่งข้อมูลออกไปจากตัวซีพียู โดยระบบภายนอกจะตอบรับต่อสัญญาณควบคุมนั้น ไมโครโพรเซสเซอร์ไม่ใช่จะควบคุมการทำงานของบัสทั้งหมด บางกรณีในการส่งถ่ายข้อมูลภายนอกด้วยกันเอง ผ่านบัสได้เป็นกรณีพิเศษเหมือนกัน เช่นการอ่านข้อมูลจากหน่วยความจำสำรองขนาดใหญ่สามารถ
ส่งผ่านข้อมูลมายังหน่วยความำหลักได้โดยผ่านไมโครโพรเซสเซอร์เลย ก็โดยการใช้ขบวนการที่เรียกว่าขบวนการ DMA (DIRECT MEMORY ACCESS)บัสเป็นเส้นทางหลักของคอมพิวเตอร์ในการเชื่อมโยงในการ์ดขยายทุกชนิด ไปยังไมโครโพรเซสเซอร์ บัสความจริงก็ คือ ชุดของเส้นลวดที่วางขนานกันเป็นเส้นทางวงจรไฟฟ้าเปรียบเทียบเหมือนถนนที่มีหลาย ช่องทางจราจร ยิ่งมีช่องทางจราจรมาก ก็ยิ่งระบายความร้อนได้มากและหมดเร็ว เมื่อเราเสียบการ์ดลงช่องเสียบบนแผงวงจรหลัก (สล็อต) ก็เท่ากับว่าได้เชื่อมต่อการ์ดนั้นเข้ากับวงจรบัสโดยตรง จุดประสงค์หลักของบัสก็คือ การส่งผ่านข้อมูลไปและกลับจากไมโครโพรเซสเซอร์หรือจากอุปกรณ์หนึ่ง โดยทางคอนโทรลเลอร์ DMA การ์ดทุกตัวที่เสียบอยู่บนสล็อตของแผงวงจรหลักจะใช้เส้นทางเดินของบัสอันเดียวกัน
1.สายไฟฟ้า(POWERLINE)จะให้พลังไฟฟ้ากับการ์ดขยายต่างๆ
PC BUS เมื่อ IBM ได้ทำการเปิดตัว IBM PC(XT) ตัวแรกซึ่งใช้ CPU 8088 เป็น CPU ขนาด 8 BIT ดังนั้นเครื่อง คอมพิวเตอร์เครื่องนี้จึงมีเส้นทางข้อมูลเพียง 8 เส้นทาง (8 DATA LINE) และเส้นทางที่อยู่ 20 เส้นทาง (20 ADDRESS LINE) เพื่อใช้ในการอ้างตำแหน่งของหน่วยความจำ CARD ที่นำมาต่อกับ PC BUS นั้นจะเป็น CARD แบบ 62 PIN ซึ่ง 8 PIN ใช้สำหรับส่งข้อมูลอีก 20 PIN ไว้สำหรับอ้างตำแหน่งของหน่วยความจำ ซึ่ง CPU 8088 นั้นสามารถอ้างอิงหน่วยความจำได้เพียง 1 เมกะไบต์ ซึ่งในแต่ละ PIN นั้นสามารถส่งข้อมูลได้เพียง 2 ค่า คือ 0 กับ 1 (หรือ ROW กับ HIGH) ดังนั้นเมื่อใช้20 PIN ก็จะอ้างอิงตำแหน่งได้ที่ 2 คูณกัน 20 ครั้ง(หรือยกกำลัง 20)
ซึ่งก็จะได้เท่ากับ 1 MEGABYTE พอดีส่วน PIN ที่เหลือก็ใช้เป็นตัวกำหนดการอ่านค่าว่าอ่านจากตำแหน่งของหน่วยความจำ หรือตำแหน่งของ INPUT/OUTPUT หรือบางส่วน PIN ก็ใช้สำหรับจ่ายไฟ +5ม -5ม +12 และสาย GROUND สายดิน เพื่อจ่ายไฟให้กับ GARD ที่ต่อพ่วงบน SLOT ของ PC BUS นั่นเอง และยังมี PIN
บางตัวที่ทำหน้าที่เป็นตัว RESETหรือเป็นตัว REFRESH หรือแม้กระทั่ง CLOCK หรือสัญญาณของระบบนั่นเอง ระบบ BUS แบบ PC BUS นี้มี ความกว้างของ BUSเป็น 4.77 MHzและยังสามารถส่งถ่ายข้อมูลด้วยความเร็วสูงสุดที่ 2.38 ต่อวินาที
หน่วยความจำ เป็นส่วนที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูลและโปรแกรมต่างๆมีทั้งแบบที่ใช้เก็บข้อมูลแบบถาวรและแบบที่ใช้เก็บข้อมูลแบบชั่วคราวหน่วยความจำเป็นส่วนที่มีความจำเป็นต่อการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ถ้าไม่มีหน่วยความจำเราก็คงไม่สามารถบันทึกข้อมูลใดๆไว้ได้เลย เราแบ่งหน่วยความจำออกเป็น 2 ประเภท คือ
หน่วยความจำรอม(ROM : Read Only Memory) เป็นหน่วยความจำชนิดที่อ่านได้อย่างเดียว ใช้เก็บข้อมูลแบบถาวร และไม่ต้องการพลังงานไฟฟ้าในการหล่อเลี้ยงเราใช้หน่วยความจำชนิดนี้ในการเก็บโปรแกรมควบคุมการทำงานของระบบที่เรียกว่า ไบออส (BIOS : Basic Input Output System)
หน่วยความจำแรม(RAM:RanddomAccessMemory) เป็นหน่วยความจำชนิดที่ต้องการพลังงานไฟฟ้าในการทำงานข้อมูลภายในแรมจะสูญหายทันทีที่มีการดับเครื่อง แรมจะทำงานร่วมกับซีพียูโดยซีพียูจะใช้แรมเป็นที่เก็บข้อมูลที่จะเป็นต่อการประมวลผลในขณะนั้นซึ่งจะเป็นการจัดเก็บข้อมูลแบบชั่วคราวเท่านั้น
อุปกรณ์รับข้อมูล เป็นส่วนที่ทำหน้าที่รับข้อมูลหรือคำสั่งจากผู้ใช้เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์แล้วนำไปประมวลผล อุปกรณ์รับข้อมูลที่ว่านี้ ได้แก่ เมาส์ คีย์บอร์ด ฟล็อปปี้ดิสก์ สแกนเนอร์ เป็นต้น
หน่วยความจำรอม(ROM : Read Only Memory) เป็นหน่วยความจำชนิดที่อ่านได้อย่างเดียว ใช้เก็บข้อมูลแบบถาวร และไม่ต้องการพลังงานไฟฟ้าในการหล่อเลี้ยงเราใช้หน่วยความจำชนิดนี้ในการเก็บโปรแกรมควบคุมการทำงานของระบบที่เรียกว่า ไบออส (BIOS : Basic Input Output System)
หน่วยความจำแรม(RAM:RanddomAccessMemory) เป็นหน่วยความจำชนิดที่ต้องการพลังงานไฟฟ้าในการทำงานข้อมูลภายในแรมจะสูญหายทันทีที่มีการดับเครื่อง แรมจะทำงานร่วมกับซีพียูโดยซีพียูจะใช้แรมเป็นที่เก็บข้อมูลที่จะเป็นต่อการประมวลผลในขณะนั้นซึ่งจะเป็นการจัดเก็บข้อมูลแบบชั่วคราวเท่านั้น
หน่วยความจำสำรอง คือ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการเก็บบันทึกข้อมูล และโปรแกรมต่างๆแบบถาวรได้แก่ ฮาร์ดดิสก์ ฟล็อปปี้ดิสก์ แผ่นซีดีรอม ฯลฯ โดยถ้าเป็นข้อมูลที่มีขนาดเล็ก และต้องการเคลื่อนย้ายไฟล์ไปที่คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆก็ใช้ฟล็อปปี้ดิสก์ แต่ถ้าเป็นข้อมูลที่มีขนาดใหญ่มากๆก็จะเก็บลงใน
ฮาร์ดดิสก์ หรือแผ่นซีดีรอมซึ่งข้อมูลที่เก็บในฟล็อปปี้ดิสก์ หรือฮาร์ดดิสก์ เราสามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไข และบันทึกลงไปใหม่ได้ส่วนแผ่นซีดีรอมไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
อุปกรณ์รับข้อมูล เป็นส่วนที่ทำหน้าที่รับข้อมูลหรือคำสั่งจากผู้ใช้เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์แล้วนำไปประมวลผล อุปกรณ์รับข้อมูลที่ว่านี้ ได้แก่ เมาส์ คีย์บอร์ด ฟล็อปปี้ดิสก์ สแกนเนอร์ เป็นต้น
สามารถแบ่งได้เป็น 2 ส่วนคือ ส่วนของฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ โดยทั้งสองส่วนนี้จะต้องมีการทำงานร่วมกันเพื่อให้เกิดการตอบสนองต่อการสั่งงานจากผู้ใช้ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
2. เคส (Case) ใช้ติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆไม่ว่าจะเป็นเมนบอร์ด ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอม ฟล็อปปี้ดิสก์ การ์ดต่างๆ เป็นต้น
3.คีย์บอร์ด(Keyboard)ใช้ป้อนข้อมูลหรือคำสั่งต่างๆเข้าสู่เครื่องพีซี
4. เมาส์ (Mouse) เป็นอุปกรณ์ช่วยอำนวยความสะดวกในการเลือกคำสั่งหรือเลื่อนเคอร์เซอร์ไปยังตำแหน่งที่ต้องการ
5.ลำโพง(Speaker)เป็นอุปกรณ์ที่ใช้แสดงเสียงจากสื่อมัลติมีเดียต่างๆ
2. แรม (RAM) ใช้เก็บข้อมูลและโปรแกรมที่กำลังใช้งานอยู่ เพื่อรอส่งให้กับซีพียูใช้ประมวลผลโดยจะเป็นการเก็บข้อมูลเพียงชั่วคราวเท่านั้นถ้าปิดเครื่องข้อมูลก็จะหายทันที
3. เมนบอร์ด (Mainboard) เป็นแผงวงจรขนาดใหญ่ที่ใช้ติดตั้ง และเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่างๆไม่ว่าจะเป็นซีพียู แรม ฮาร์ดดิสก์ ซาวน์การ์ด เป็นต้น เหมือนกับศูนย์กลางการติดต่อระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ
4. ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) ใช้เก็บข้อมูลขนาดใหญ่ได้อย่างถาวร นอกจากจะใช้เก็บข้อมูลแล้วฮาร์ดดิสก์ยังเป็นส่วนที่ใช้เก็บระบบปฏิบัติการรวมไปถึงโปรแกรมต่างๆอีกด้วย
5. ซีดีรอมไดรว์ (CD-ROM Drive) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีรูปแบบต่างๆไม่ว่าจะเป็นแผ่นโปรแกรมแผ่นเพลงและแผ่นหนัง
6. ฟล็อปปี้ดิสก์ไดรว์ (Floppy Disk Drive) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่าน/เขียนแผ่น Floppy Disk ที่ใช้เก็บข้อมูลขนาดเล็กซึ่งมีความจุเพียง1.44MBเหมาะสำหรับโอนถ่ายข้อมูลขนาดเล็กหรือใช้ทำแผ่นบู๊ต
7. ช่องขยาย (Expansion Slot) เป็นช่องต่อเติมที่ใช้ติดตั้งการ์ดชนิดต่างๆ อย่างเช่น ซาวน์การ์ด การ์ดแลน การ์ดจอภาพ เป็นต้น ในปัจจุบันจะมีอยู่ 3 ชนิดได้แก่ ISA, PCI และ AGP
8. แหล่งจ่ายไฟ (Power Supply) อุปกรณ์ที่ใช้จ่ายไฟให้กับอุปกรณ์ต่างๆภายในเครื่อง จะเห็นว่าจะมีสายไฟจากเพาเวอร์ซัพพลายเชื่อมต่อไปยังอุปกรณ์ต่างๆ
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ ถ้าเปรียบเทียบกับระบบโครงสร้างร่างกายของมนุษย์เราน่าจะ เปรียบเทียบได้ง่ายและเห็นภาพชัดเจน เพราะอย่างน้อยคนเราส่วนใหญ่คงจะพอรู้ระบบโครงสร้างการทำงาน ของร่างกายของเราเองอยู่บ้างไม่มากก็น้อยล่ะ ดังนั้นระบบการทำงานของบัสก็จะคล้ายกับเส้นเลือดในร่างกายของมนุษย์นั่นเองสำหรับทำหน้าที่ในการส่งถ่ายกระแสเลือดไปหล่อเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย ซึ่งกระแสเลือดในระบบคอมพิวเตอร์ก็คือข้อมูล (Data)นั่นเอง บัส คือ ทางเดินหรือ ช่องทางระหว่างอุปกรณ์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารภายในคอมพิวเตอร์
ดังนั้นข้อมูลต่างๆจึงถูกจัดระบบและควบคุมการส่งผ่านในระบบ จะพบว่าบัสแบ่งได้เป็น 4 ส่วนใหญ่ๆดังนี้
2. สายควบคุม (CONTROL LINE ) ใช้สำหรับส่งผ่านสัญญาณเวลา (TIMING SIGNG) จากนาฬิกาของระบบ และส่งสัญญาณอินเตอร์รัพต์
3. สายแอดเดรส (ADDRESS LINE) ข้อมูลใดๆที่ถูกส่งผ่านไป แอดเดรสเป้าหมายจะถูกส่งมาตามสายข้อมูลและบอกให้ตำแหน่งรับข้อมูล(แอดเดรส)รู้ว่าจะมีข้อมูลบางอย่างพร้อมที่จะส่งมาให้
4. สายข้อมูล (DATA LINE) ไมโครเมตรจะตรวจสอบว่ามีสายสัญญาณแสดงความพร้อมหรือ (บนสาย I/O CHANNEL READY) เมื่อทุกอย่างเป็นไปด้วยดีข้อมูลก็จะถูกส่งผ่านไปตามสายข้อมูล จำนวนสายที่ระบุถึงแอดเดรสของบัส หมายถึงจำนวนของหน่วยความจำที่อ้างแอดเดรสได้ทั้งหมด เช่น สายแอดเดรส 20 สาย สามารถใช้หน่วยความจำได้ 1 เมกะไบต์จำนวนของสายบัสจะหมายถึงบัสข้อมูล ซึ่งก็คือข้อมูลทั้งหมด ที่ส่งผ่านไปในบัสตามกฎที่ตั้งไว ความเร็วในการทำงานที่เหมาะสมจะเป็นไปได้ก็ต่อเมื่อ จำนวนสายข้อมูลเพียงพอกับจำนวนสายข้อมูลของไมโครโพรเซสเซอร์ จำนวนสายส่งข้อมูลมักจะระบุถึงคุณสมบัติของบัสในเครื่องพีซีนั้นๆ เช่น บัส 16 บิต หมายถึง บัสที่ใช้สายข้อมูล 16 สายนั่นเอง
หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์เริ่มจากผู้ใช้จะทำการป้อนข้อมูลหรือคำสั่งผ่านทางอุปกรณ์รับข้อมูล(InputDevices) ซึ่งข้อมูลหรือคำสั่งที่รับเข้ามาจะถูกนำไปตีความ และประมวลผลโดยหน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) แล้วนำผลที่ได้จากการประมวลผลมาเก็บไว้ที่หน่วยความจำแรม พร้อมกับแสดง
เครื่องคอมพิวเตอร์หรือที่เรามักจะเรียกว่าเครื่องพีซีนั้น เกิดจากการประกอบกันของอุปกรณ์ต่างๆมากมาย ทั้งส่วนที่อยู่ภายในเครื่องและส่วนที่อยู่ภายนอกเครื่องไม่ว่าจะเป็นซีพียู ,แรม,การ์ดแสดงผล,ฮาร์ดดิสก์,เมาส์, จอภาพ, คีย์บอร์ด ฯลฯ ซึ่งในแต่ละส่วนก็จะมีหน้าที่และความสำคัญแตกต่างกันไป เราจึงจำเป็นที่จะต้องทำความรู้จักกับอุปกรณ์ต่างๆเหล่านี้ และเรียนรู้ให้เกิดความเข้าใจถึงหน้าที่การทำงานของอุปกรณ์แต่ละส่วน เพื่อเป็นความรู้พื้นฐานก่อนที่จะพิจารณาเลือกซื้ออุปกรณ์เหล่านั้นมาประกอบเครื่องได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
อุปกรณ์ภายนอกเครื่องพีซี เป็นส่วนที่เราสามารถมองเห็นได้โดยไม่จำเป็นต้องเปิดเครื่อง ได้แก่ จอภาพ,เคส,คีย์บอร์ด,ลำโพง และเมาส์
1. ซีพียู (CPU) เป็นสมองของคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลและควบคุมการทำงานของระบบ ประสิทธิภาพและความรวดเร็วในการทำงานของเครื่องจะขึ้นอยู่กับซีพียู เป็นหลัก ดังนั้น ซีพียูจึงเป็นชิ้นส่วนที่สำคัญที่สุดและก็แพงที่สุดด้วย
ระบบ BUS บนเครื่องคอมพิวเตอร์
BUS หมายถึง ช่องทางการขนส่งถ่ายข้อมูลจากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอุปกรณ์หนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์เพราะการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ CPU จะต้องอ่านเอาคำสั่งหรือโปรแกรมจากหน่วยคงวามจำ มาตีความและทำตามคำสั่งนั้นๆ ซึ่งในบางครั้งจะต้องอ่านข้อมูลจากอุปกรณ์อื่นๆ เพื่อใช้ประกอบในการทำงาน หรือใช้ประมวลผลด้วยผลลัพธ์ของการประมวล ก็ต้องส่งไปแสดงที่ยังจอภาพ หรือเครื่องพิมพ์หรืออุปกรณ์อื่นๆ ระบบ CPU ทางกายภาพ คือสายทองแดงที่วางตัวอยู่บนแผงวงจรของเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมโยงกับอุปกรณ์ต่างๆ ความกว้างของระบบบัส จะนับขนาดข้อมูลที่วิ่งอยู่โดยจะมีหน่วยเป็น บิต (BIT) บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ บัสจะมีความกว้างจะทำให้การส่งถ่ายข้อมูลจะทำได้ครั้งละมากๆ จะมีผลทำให้คอมพิวเตอร์เครื่องนี้ทำงานได้เร็วตามไปด้วยระบบบัส ขนาด 16 บิตก็คือระบบการส่งถ่ายข้อมูลพร้อมๆกันในคราวเดียวกันได้ถึง 16 บิต และบัส 32 บิต ย่อมเร็วกว่าบัส 16 บิต ในระบบบัสที่ส่งข้อมูลได้จำนวนเท่าๆกัน นั้นก็ยังมีบางอย่างที่ทำให้การส่งข้อมูลมีความแตกต่างกัน ดังที่เราจะเห็นว่าเครื่องพีซีของเราในปัจจุบันจะมีระบบบัสอยู่หลายขนาดเช่น ISA, EISA. MCA, VLPCI เป็นต้น ทั้ง ISA, AGP,VLPCI ล้วนแต่เป็น CARD เพิ่มขยาย (EXPANSION CARD) ซึ่งนำมาต่อกับระบบบัสเพิ่มขยาย (EXPANSION BUS) ที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ และช่วยเพิ่มขีดความสามารถให้กับคอมพิวเตอร์ ระบบบัสเพิ่มขยายนั้น จะช่วยให้เราสามารถปรับแต่ง หรือเพิ่มขยายความสามารถของระบบ โดยผ่านทาง PKUG-INBOARD หรือเรียกว่า เป็น CARD เพิ่มขยาย EXPANSION CARD เช่นเมื่อต้องการให้ เครื่องCOMPUTER มีเสียง อยากให้คอมพิวเตอร์เล่นเพลงได้ก็ต้องหาซื้อSOUNDCARD และลำโพงมาต่อเพิ่ม โดยแค่นำมา PLUG ลงใน EXPANSION SLIT บน MAINBOARD และทำการ CONFIG ก็สามารถใช้งานได้ โดยไม่จำเป็นต้อง
ทั้งหมด โดยผ่านบัส ในไมโครโพรเซสเซอร์จะมีบัสต่างๆ ดังนี้ บัสข้อมูล (DATA BUS) คือบัสที่ ไมโครโพรเซสเซอร์ (ซีพียู)ใช้เป็นเส้นทางผ่านในการควบคุมการส่งถ่ายข้อมูลจากตัวซีพียูไปยังอุปกรณ์ภายนอก
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นความเป็นมา
การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับการใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกับเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของระบบให้สูงขึ้น เพิ่มการใช้งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุนระบบโดยรวมลง มีการแบ่งใช้งานอุปกรณ์และข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนสามารถทำงานร่วมกันได้ สิ่งสำคัญที่ทำให้ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น คือ การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน และการเชื่อมต่อหรือการสื่อสาร การโอนย้ายข้อมูลหมายถึงการนำข้อมูลมาแบ่งกันใช้งาน หรือการนำข้อมูลไปใช้ประมวลผลในลักษณะแบ่งกันใช้ทรัพยากร เช่น แบ่งกันใช้ซีพียู แบ่งกันใช้ฮาร์ดดิสก์ แบ่งกันใช้โปรแกรม และแบ่งกันใช้อุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีราคาแพงหรือไม่สามารถจัดหาให้ทุกคนได้ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายจึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานให้กว้างขวางและมากขึ้นจากเดิม
การเชื่อมต่อในความหมายของระบบเครือข่ายท้องถิ่น ไม่ได้จำกัดอยู่ที่การเชื่อมต่อระหว่างเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แต่ยังรวมไปถึงการเชื่อมต่ออุปกรณ์รอบข้าง เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าทำให้การทำงานเฉพาะมีขอบเขตกว้างขวางยิ่งขึ้น มีการใช้เครื่องบริการแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บรวบควมแฟ้มข้อมูลต่างๆ มีการทำฐานข้อมูลกลาง มีหน่วยจัดการระบบสือสารหน่วยบริการใช้เครื่องพิมพ์ หน่วยบริการการใช้ซีดี หน่วยบริการปลายทาง และอุปกรณ์ประกอบสำหรับต่อเข้าในระบบเครือข่ายเพื่อจะทำงานเฉพาะเจาะจงอย่างใดอย่างหนึ่ง ในรูป เป็นตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่จัดกลุ่มเชื่อมโยงเป็นระบบ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ก่อให้เกิดความสามารถในการปฎิบัติการร่วมกัน ซึ่งหมายถึงการให้อุปกรณ์ทุกชิ้นที่ต่ออยู่บนเครือข่ายทำงานร่วมกันได้ทั้งหมดในลักษณะที่ประสานรวมกัน โดยผู้ใช้เห็นเสมือนใช้งานในอุปกรณ์เดียวกัน จึงเป็นวิธีการในการนำเอาอุปกรณ์ต่างชนิดจำนวนมาก มารวมกันเป็นเสมือนระบบเดียวกัน ทั้ง ๆ ที่อุปกรณ์เหล่านั้นอาจจะมาจากต่างยี่ห้อ ต่างบริษัทก็ได้
เมื่อสิบกว่าปีก่อน ที่ไมโครคอมพิวเตอร์เริ่มแพร่หลาย ความคิดเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ยังดูเป็นของใช้ส่วนตัวหรือเครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับนักสมัครเล่น ครั้นเมื่อแอปเปิ้ลทูเริ่มแพร่หลายอย่างรวดเร็ว หลายคนมองว่าไมโครคอมพิวเตอร์กำลังจะเข้ามามีบทบาทมียอดการจำหน่ายสูงมากจนมีผู้ทำเลียนแบบกันมากมาย เพียงระยะเวลาผ่านไปไม่กี่ปีไมโครคอมพิวเตอร์ก็ก้าวหน้าขึ้นอย่างรวดเร็ว ในปี ค.ศ. 1979 สตีฟ จ๊อบ หนึ่งในสองของผู้ก่อตั้งบริษัทแอปเปิ้ลคอมพิวเตอร์มีโอกาสไปเยี่ยมบริษัทซีร็อกซ์ที่ศูนย์วิจัย Palo Alto มีมลรัฐแคลิฟอร์เนียมีความประทับใจกับระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งในขณะนั้นเป็นคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ แต่มีการแสดงกราฟิกและการใช้งานที่ง่าย สตีฟ จ๊อบ จึงเริ่มความคิดที่จะสร้างคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่มีระบบการใช้ หรือที่เรียกว่ายูสเซอร์อินเตอร์เฟสเหมือนกับเครื่องคอมพิวเตอร์ของบริษัทซีร๊อกซ์ และในที่สุดก็พัฒนาเป็นคอมพิวเตอร์ชื่อลิซ่า แต่ลิซ่าไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร บริษัทแอปเปิ้ลจึงพัฒนาย่อส่วนลงและเพิ่มขีดความสามารถขึ้นจนกลายเป็นเครื่องแมคอินทอชในปัจจุบัน ความคิดของไมโครคอมพิวเตอร์ขณะนั้นคือ เพิ่มขีดความสามารถของการทำงานโดยเน้นการใช้งานง่ายเป็นสำคัญ แนวความคิด "หั่นเป็นชิ้นแยกส่วนการทำงาน" เริ่มต้นแล้ว ทำอย่างไรจึงให้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ซึ่งมีบทบาทและความจำเป็นมาก ถูกจำลองลงด้วยเครื่องขนาดเล็ก การใช้งานไมโครคอมพิวเตอร์จึงยังไม่สามารถทดแทนระบบขนาดใหญ่ได้
ศูนย์วิจัยของบริษัทซีร๊อกซ์ได้พัฒนาและสร้างระบบต้นแบบไว้หลายอย่าง ความรู้แล้วต้นตำรับของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ก็เริ่มขึ้นที่นี่ด้วย ซีร๊อกซ์ได้พัฒนาระบบคอมพิวเตอร์แยกส่วน และเชื่อมโยงต่อกันเป็นเน็ตเวอร์ก และในที่สุดอีเธอร์เนต หรือ IEEE 802.3 ก็ได้รับการยอมรับ นับว่าจุดเริ่มต้นของแนวความคิดได้รับการยอมรับ และกลายเป็นมาตรฐานโลกไปในที่สุด หากย้อนรอยตั้งแต่ไอบีเอ็ม ประกาศไอบีเอ็มพีซีครั้งแรก ถนนการค้าไมโครคอมพิวเตอร์ก็ได้รับการขานรับและพัฒนาต่อเนื่องอย่างไม่หยุดยั้ง จาก 286 มาเป็น 386 และกลายเป็น 486 ปัจจุบันมีหลายบริษัทได้พัฒนาระบบบัสที่เป็นแบบความเร็วสูง เช่น MCA, EISA หรือนำบัสที่เคยใช้บนมินิคอมพิวเตอร์ เช่น VME, Q bus หรือแม้แต่มัลติบัสมาใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ที่ใช้ซีพียู 68000, 68020, 68030 เป็นต้น ช่วงสามสี่ปีที่ผ่านมา ระบบเวอร์กสเตชันก็ขานรับต่อมา มีเครื่องระดับเวอร์กสเตชันออกมามากมาย เช่น ของบริษัทซันไมโครซิสเต็ม ฮิวเล็ตต์แพคการ์ด หรือแม้แต่ไอบีเอ็มก็พัฒนาระบบ R6000 ขึ้นเช่นกัน สิ่งที่น่าสังเกตคือ ระบบคอมพิวเตอร์ยุคหลังนี้มาบนเส้นทางที่ให้ระบบการเชื่อมต่อถึงกันทั้งสิ้น การสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงดูจริงจังและเป็นงานเป็นการขึ้นกว่าเดิมมาก
หากย้อนไปเมื่อยี่สิบปีที่แล้วคอมพิวเตอร์มีราคาแพง การใช้งานจะอยู่ที่หน่วยงานใหญ่ ๆ ต้องมีห้อง มีศูนย์คอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์เป็นระบบรวมศูนย์ ถึงแม้แยกออกมาเป็นเทอร์มินัลก็แตกกระจาย จากศูนย์กลางออกไปแต่ แต่ในปัจจุบันการใช้คอมพิวเตอร์เริ่มแปรเปลี่ยนไป หน่วยงานต่าง ๆ พยายามมีคอมพิวเตอร์ของตนเอง ไมโครคอมพิวเตอร์หรือพีซีก็กระจายแพร่หลายไปทุกหน่วยงาน การพัฒนาซอฟต์แวร์เป็นไปอย่างกว้างขวาง มีโปรแกรมสำเร็จรูปออกมามากมาย สาเหตุสำคัญที่ทำให้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีความจำเป็น และมีบทบาทที่สำคัญต่อมาเพราะ
การใช้งานในหน่วยงานยิ่งแพร่หลาย ความต้องการที่จะเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารก็มีมากขึ้น ไมโครคอมพิวเตอร์มีราคาถูกเมื่อเทียบกับมินิคอมพิวเตอร์หรือเมนเฟรม ประจวบกับการใช้งานไมโครคอมพิวเตอร์ทำได้ง่ายกว่ามาก มีซอฟต์แวร์มาก แต่จุดอ่อนของไมโครคอมพิวเตอร์ก็อยู่ที่ระบบงานที่อาจต้องมีการเชื่อมโยงถึงกัน ดังนั้นการเพิ่มคุณค่าของระบบจึงต้องพัฒนาในเรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นประการสำคัญ พัฒนาการของไมโครโปรเซสเซอร์ไปเร็วมาก เหตุผลประการสำคัญอีกประการหนึ่งคือ ไมโครโปรเซสเซอร์และพัฒนาการทางด้านชิพได้ก้าวล้ำไปมาก ขีดความสามารถของซีพียูสูงขึ้น การคำนวณหรือระบบงานไมโครคอมพิวเตอร์ทำได้มาก ประกอบกับอุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคมได้มีการพัฒนาไปพร้อมกับระบบเครือข่ายสื่อสารโทรคมนาคมรองรับได้มาก ส่วนนี้เองเป็นแรงกระตุ้นการเชื่อมโยงระบบให้มีการผูกยึดเป็นระบบเครือข่าย
เทคโนโลยีหลายด้านได้พัฒนาก้าวหน้าขึ้นเป็นอันมาก เช่น เทคโนโลยีไฟเบอร์ออปติก ไมโครเวฟ หรือแม้แต่สายโคแอกเชียล ก็สามารถทำให้มีแบนด์วิดธ์สูงมาก ในขณะที่ราคาต้นทุนลดลง การทำให้จำนวนกิโลบิตทิ่ว่งได้ต่อวินาทีสูงขึ้น โอกาสของถนนสายข้อมูลก็มีรถซึ่งเป็นข้อมูลวิ่งได้มากขึ้น นอกจากนี้พัฒนาการทางเทคนิคทางซอฟต์แวร์โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบสื่อสารที่เรียกว่า โปรโตคอล ก็ได้พัฒนาไปมาก มีการกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศขึ้น เพื่อตอบสนองการเชื่อมโยงเป็นระบบมากในระยะสองสามปีที่ผ่านมา ความต้องการการเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์เข้าหากันมีจุดมุ่งหมายหลายอย่างเช่น





ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น